หนังสือ คือ หน้ากระดาษที่มีข้อความเนื้อหาที่นำมาประกอบกันเป็นสิ่งๆเดียว ในทางเดียวกันนิตยสาร,แคตตาล้อก,โบรชัวร์ และ หนังสือ ล้วนแต่เป็นชนิดหรือประเภทของหนังสือทั้งนั้น อย่างไรก็ตามกระดาษผ่นเดียวที่มีเนื้อห เช่น ใบปลิว นามบัตร วอบเชอร์และอื่นๆ มีความซับซ้อนในการคิดค้นและผลิตน้อยกว่าหนังสือ และ หนังสือนั้นมีความซับซ้อนมากกว่ากระดาษเนื้อหาใบเดียวหลายเท่า การเลือกปริ้นประเภทหนังสือจึงถูกจำแนกออกเป็นหลายประเภทออกไปและมีปัจจัยต่างๆที่ต้องคำนึงเป็นอย่างมาก ที่ Gogoprint เรามีความหลากหลายในการผลิตหนังสือปรับแต่งหนังสือตามความชอบของคุณ,โดยพิมพ์แบบดิจิตอล or หนังสือออฟเซท, to การทำปกเเข็ง or การเข้าเล่มแบบกระดูกงู

ก่อนที่คุณจะเริ่มทุกขั้นตอนการทำหนังสือ แอดมินอยากจะอธิบายพื้นฐานของการพิมพ์หนังสือที่ช่วยให้หนังสือของคุณเป็นตัวตนของคุณมากขึ้น

1. วัสดุการทำปกหนังสือ

สิ่งแรกเลยที่คุณผู้อ่านควรจะเลือกอย่างระมัดระวังที่สุด กระดาษสะท้อนแสงและกระดาษอาร์ตคือวัสดุ อย่างแรกที่ใช้ทำหนังสือกันโดยทั่วไป

กระดาษสะท้อนแสง  – มีความทนทานและสามารถเขียนลงไปได้ เหมาะสมแก่การใช้ทำหนังสือการ์ตูน หนังสือนิทาน และอื่นๆ
กระดาษอาร์ตหรือการ์ด – มีความเรียบลื่นและเงางาม เหมาะแก่การใช้ทำหนังสือประเภทให้ข้อมูล เช่น แคตตาล้อก นิดยสาร และอื่นๆ

ความหนาของกระดาษหน้าปกก็สำคัญเช่นกัน ยิ่งกระดาษหน้าปกมีความหนาขนาดไหน หนังสือเล่มนั้นจะมีความทนทานและมืออาชีพมากขึ้นเช่นกัน

  

2. วัสดุการทำกระดาษเนื้อหาข้างใน

วัสดุการทำกระดาษเนื้อหาข้างในก็เป็นสิ่งที่สำคัญมากพอๆกับหน้าปกเช่นกัน ความหนาของหนังสือนั้นสามารถเรียงได้ตามน้ำหนัก จาก น้ำหนักเบา (70 กรัม) ถึง น้ำหนักมาก (260กรัม) อย่างไรก้ตามทั้งหมดนี้ขึ้นอยู่กับความชอบของคุณ 


3. การเคลือบชิ้นงาน (Lamination)

การเคลือบชิ้นงานคือ ขึ้นตอนการสำเสร็จเพื่อใช้ในการเนื้องานบางจากพลาสติกถึงกระดาษ และเป็นการทำให้กระดาษมีความทนทานและมีความมืออาชีพมากยิ่งขี้น 

เคลือบแบบด้าน – เคลือบเรียบ ทำให้หนังสือของคุณดูพรีเมี่ยม
เคลือบแบบมัมวาว – เคลือบเงา สะท้อนแสงและทำให้เนื้อหาของคุณโดดเด่น

Choose your type of lamination wisely, as the type of lamination reflects on the message you’re giving to readers.

 

4.การเข้าเล่ม

ขั้นตอนต่อไปคือการเข้าเล่ม บทความก่อนหน้านี้มีรายละเอียดที่คลอบคลุมทุกอย่างใช้ในการเข้าเล่ม แต่สรุปง่ายๆดังนี้

การเข้าเล่มแบบเย็บมุมหลังคา – ใช้ที่เย็บกระดาษมาเย็บกระดาษเข้าด้วยกันและพับกระดาษให้เป็นหนังสือ
การเข้าเล่มแบบสันกาว – ใช้หน้าปกและหน้ากระดาษมาเข้าเล่มโดยการใช้กาว
การเข้าเล่มแบบปกแข็ง –ป็นแบบการเข้าเล่มเดียวกันกับแบบสันกาวแต่ใช้หน้าปกแบบแข็ง
การเข้าเล่มแบบกระดูกงู – เป็นการใช้ห่วงเหล็กมีเข้าเล่ม

การเข้าเล่มเปรียบเสมือนกระดูกของหนังสือ คุณสามารถเลือกได้ตามแบบที่คุณต้องการ


5. ขนาดของหนังสือ

มีหนังสือมากมายหลายขนาดให้เลือก แต่ขนาดที่พบมากที่สุดคือเล่มขนาด A4 และ A5 เพราะเป็นขนาดมาตรฐาน หากคุณต้องการให้พกพาหนังสือเล่มเล็กได้อย่างสะดวก แนะนำให้ใช้หนังสือขนาด A5 หรือเล็กกว่า ตรวจสอบให้แน่ใจว่าขนาดงานอาร์ตของคุณใหญ่เท่ากับขนาดที่คุณต้องการจะพิมพ์ ตัวอย่างเช่น หากหนังสือของคุณมีขนาด 20x20 ซม. ขนาดงานของคุณจะต้องกำหนดไว้ที่ 20x20 ซม. เช่นกัน


6. เทคนิค: “กฎ”ของการพิมพ์

เพื่อลดข้อผิดพลาดให้ตรวจสอบว่าอาร์ตเวิร์คของคุณพร้อมสำหรับการพิมพ์ มี “กฎ”ทางเทคนิคของหนังสือที่ควรทราบ “rules” หนังสือที่ควรทราบ เช่น bleed เส้นtrim ระยะตัดขอบ หมวดสี เเละอีกมากมาย เพื่อทำให้ง่ายขึ้น อาร์ทเวิร์คเช็คลิสต์ ที่ใช้ได้กับสื่อพิมพ์ทั้งหมด อย่าลืมที่จะเช็คนะ! 

7. เทคนิค: พื้นที่ปลอดภัย (Safety Area)

สุดท้ายเเต่ไม่ท้ายสุด กฎทางเทคนิคนี้มีไว้สำหรับหนังสือโดยเฉพาะ ด้วยเหตุนี้จึงแยกออกจากประเด็นอื่นๆที่เราได้กล่าวไว้ "กฎ" พิเศษเพียงอย่างเดียวที่หนังสือมีคือมีพื้นที่ปลอดภัย (safety area) เพิ่มเติมภายในหน้ากระดาษด้านในซึ่งมีตั้งแต่ 5 มม. ถึง 15 มม. ขึ้นอยู่กับการเข้าเล่มที่คุณเลือก ในทางกลับกันคุณควรหลีกเลี่ยงการวางองค์ประกอบที่สำคัญในพื้นที่นี้ 

เหตุผลสำหรับพื้นที่ปลอดภัยพิเศษ เนื่องจากเมื่อผูกไว้เนื้อหาของคุณที่ด้านข้างจะอ่านยากในช่วงพับของหน้า สิ่งนี้ใช้ได้กับการเข้าเล่มแบบกระดูกงูได้ด้วย แต่ในเหตุผลที่ต่างกัน สายโลหะและรูจะผ่านองค์ประกอบสำคัญของคุณหากอยู่นอกพื้นที่ปลอดภัย 

ดังนั้นการหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดปัญหานี้ ควรตรวจสอบว่าคุณเก็บเนื้อหาที่สำคัญของคุณไว้ (เช่น ข้อความ)ด้วย สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับพื้นที่ปลอดภัยprevious article ครอบคลุมภาพของการตัดขอบที่ถูกต้อง 


บทสรุป

เราหวังว่าบทความของเราจะให้ข้อมูลที่คุณต้องการเกี่ยวกับการพิมพ์หนังสือ ตอนนี้คุณพร้อมแล้วที่จะเข้าไปดูเว็บไซต์ ของเรา ที่จะพิมพ์หนังสือของคุณอย่างน่าทึ่งเลยล่ะ!